สามารถนำไปใช้ได้ทั้งการทำสื่อโฆษณา ภาพนิ่ง วิดีโอ พรีเซนต์เทชั่นนะคะ ดีไซน์มีรวบรวม 20กว่าเทคนิคที่ใช้งานบ่อยๆมาให้ค่ะ หวังว่าพอจะเป็นแนวทาง ช่วยหลายๆท่านในเบื้องต้นได้นะคะ
1. “ตัวเอก”ต้องเด่นเล่นกับขนาดตัวหนั งสือเล็ก-ใหญ่ หัวข้อควรเด่น คำบรรยายควรย่อลง ที่สำคัญตัวเอกมักต้องมีแค่ ตัวเดียว*

2. “พื้นสีอ่อน” ตัวหนังสือเข้ม “พื้นสีเข้ม” ตัวหนังสืออ่อน

3. น้อย..แต่ดี รายละเอียดไม่ต้องเยอะ ค่อยๆสื่อสาร

4. “ธรรมชาติการอ่านของคนไทย” จะเป็นจากซ้ายไปขวา และบนลงล่างเป็นเหมือนตัว Z ..จึงควรจัดเรียงให้ตรงตามธ รรมชาติคนอ่าน

5. “สมดุล” วางน้ำหนักภาพกับตัวหนังสือแบบสมดุลเท่าๆกัน

6. “เลือกภาพดีมีชัยไปกว่าครึ่ง”เลือกภาพที่เล่าเรื่องแต่เร ียบง่ายไม่วุ่นวายจะวางง่าย ดูได้นาน

7. “เบลอ”ลองเบลอพื้นหลังดูก็จะทำให ้ ลดการกวนสายตาลงไปได้อีก โดยเฉพาะภาพพื้นหลังบางอย่า งที่ไม่ต้องการรายละเอียด แค่พอเห็นเป็นบรรยากาศ ก็ลองมาจับเบลอดูก็ช่วยให้ต ัวหนังสือเด่นขึ้นไม่น้อย.. .



8. อย่าใช้รูปประกอบยิบย่อย ควรเน้นเด่น ไปเลยรูปเดียว และเนื้อความเดียวโดยเฉพาะสื่อออนไลน์ที่มีพื ้นที่จำกัด

9. “เติมสีให้หัวข้อ”อาจจะใช้เทคนิคการเลือกสีโ ทนเดียวกับรูปภาพเพื่อให้ได้เป็นอา รมณ์เดียวกัน

10. เติมสีให้พื้นหลัง ใช้สีโทน เดียวกับแบรนด์ สร้างการจดจำและความเปรียบ ต่างระหว่างตัวหนังสือ


11. “ที่ว่าง”ตัวหนังสือและรูปภาพควรมีที ่ว่างให้หายใจ ดูแล้วสบายตาสบายใจ ไม่อึดอัดจนเกินไป กำลังดี การมีพื้นที่ว่างโดยรอบจึงส ำคัญ


12. “จุดตัดเก้าช่อง”หรือการลากเส้นสองเส้นทั้งแ นวตั้งแนวนอนก่อให้เกิดเป็นช่อง 9 ช่อง และจุดตัดสี่จุด
การวางข้อความหรือรูปภาพหลั กใกล้จุดใดจุดหนึ่งในสี่จุด ตัดนี้..ถือได้ว่าเป็นจุดที ่ทำให้รูปภาพหรือข้อความนั้ นมีความน่าสนใจ มี Dynamic หรือการเคลื่อนไหวมากกว่ากา รจัดวางกลางเพียงอย่างเดียว หลักการนี้เราใช้บ่อยๆในการ ถ่ายรูป รวมถึงการออกแบบ


13. “สร้างความเปรียบต่าง”ระหว่างภาพและตัวหนังสือด้ว ยการปรับแสงของภาพให้มืดขึ้นหรื อรองพื้นสีดำและปรับค่าโปร่งใสพ อให้เห็นรูปด้านหลัง (Transparent)






14. รวมเคล็ดลับออกแบบ คัมภีร์มือใหม่ จัดการภาพและข้อความให้สื่อ สารง่ายและดูดี

